ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก

วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559

วรรณคดีเเละวรรณกรรม ม.4 บทที่๘ เรื่อง มหาชาติหรือมหาเวศสันดรชาดก

มหาชาติหรือมหาเวศสันดรชาดก
ความเป็นมา
  พุทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่อง
ประวัติผู้แต่ง

วรรณคดีเเละวรรณกรรม ม.4 บทที่๗ เรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์

เรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์
ความเป็นมา
    เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอิน เพิ่มเติม

วรรณคดีเเละวรรณกรรม ม.4 บทที่๖เรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ความเป็นมา
             บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้ เพิ่มเติม

วรรณคดีเเละวรรณกรรม ม.4 บทที่๕ เรื่อง หัวใจชายหนุ่ม

.ความเป็นมา

        หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในห  เพิ่มเติม 

หลักการใช้ภาษา

ภาษา

-ภาษาที่เราใช้โดยทั่วไปก็จะมีภาษามาตรฐานอยู่ด้วย ภาษามาตรฐานก็จะเป็นภาษาที่คนส่วนใหญ่เข้าใจ จะ

ทำให้เราติดต่อสื่อสารกันได้รวดเร็วทันใจ

-ภาษามีเสียง มีคำ และมีประโยค

-วลีไม่ต้องมีความหมาย แต่คำ และประโยค มีความหมายนะจ๊ะ

-ภาษามี 2 ประเภท คือ อวัจนภาษา และ วัจนภาษา
                -อวัจนภาษา (ภาษาที่ไม่ใช้คำพูด) สัญญาณไฟ รหัส ท่าทาง ดนตรี เป็นต้น
                -วัจนภาษา (ภาษาที่ใช้คำพูด)

-ภาษาตาย คือ ภาษาที่ไม่ใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว จะไม่เปลี่ยนแปลงอีก เช่น ภาษาละติน ภาษาบาลี เป็นต้น  ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย

-มีตัวอักษรเป็นของตัวเอง ประดิษฐ์โดยพ่อขุนรามคำแหง โดยนำอิทธิพลมาจากอักษรขอมและอักษรมอญ

-แบ่งได้ 3 ชนิด คือ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

-ภาษาไทยสะกดตรงตามมาตรา (สำคัญๆ เอาไว้เปรียบเทียบกับคำภาษาต่างประเทศน๊า!!)  
การอ่านวรรณกรรม

-การวิเคราะห์ ต้องใช้ข้อมูลประกอบที่น่าเชื่อถือ ไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

-การแสดงความคิดเห็น : ได้มาจากการวิเคราะห์ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนเอง โดยผ่านการสำรวจปัญหา

ที่มาของเรื่อง และข้อมูลต่างๆ อย่างละเอียดแล้ว

-การวิจารณ์ การพิจารณา วิเคราะห์แยกองค์ประกอบต่างๆ แล้วนำมาพิจารณาอย่างถี่ถ้วน แล้วจึงวินิจฉัย

ประเมินคุณค่าด้วยเหตุผล และหลักทฤษฎี  บทร้อยกรอง

-คำครุ-คำลหุ
                คำครุ มี 3 ลักษณะ
                1. ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก.กา
                2. มีตัวสะกด
                3. ประสมด้วย ไอ ใอ เอา
          คำลหุ มี 2 ลักษณะ
                1. ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก.กา
                2. ประสมด้วยสระ อำ

-คำเป็น-คำตาย ลักษณะบังคับที่ใช้ในการแต่งโคลง ร่าย และกลบท
                คำเป็นมี 3 ลักษณะ
                1. ประสมด้วยสระเสียงยาวในแม่ ก.กา
                2. มีมาตราตัวสะกด แม่กง กน กม เกย เกอว
                3. ประสมด้วยสระเสียงสั้น อำ ไอ ใอ เอา
                คำตายมี 2 ลักษณะ
                1. คำที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก.กา
                2. มีตัวสะกดในมาตราแม่ กก กด กบ  เพิ่มเติม